ไก่ชน ไทย - AN OVERVIEW

ไก่ชน ไทย - An Overview

ไก่ชน ไทย - An Overview

Blog Article

ไก่ที่มีสุขภาพดีและแข็งแรง จะมีความทนทานได้มาก มีความคึกคะนองอยากจะต่อสู้และมีความเหี้ยมโหดมากขณะต่อสู้ ไก่ที่กำลังเลี้ยงเพื่อชนต้องขังแยกกับตัวเมีย นาน ๆ ทีหนึ่งจึงให้เหยียบตัวเมียได้ เพื่อคลายความเครียดกลัดมันของมัน นักเลงไก่ชนจะต้องมีไก่รองบ่อนหรือไก่ชนลูกไล่ไว้สำหรับใช้ล่อใช้เวียน อย่างน้อย ๑-๒ ตัว ผลัดเปลี่ยนกัน ส่วนการซ้อมคู่นั้นอาจนำไปซ้อมหรือวางกับไก่อื่นที่มีขนาดเท่ากันได้

๑. วัสดุรองพื้นรังไข่ ควรใช้ใบยาสูบตากแห้งจะดีมาก เพราะสามารถป้องกันพวกเห็บและไรได้ดี

๘. เกล็ดน้อย หมายถึงที่แข้ง นิ้ว หลังแข้ง มีเกล็ดไม่มาก และเป็นเกล็ดอยู่ห่าง ๆ กัน

ลูกตามีสีเหลืองอ่อน มีลักษณะตาปลาหมอ

การจับคู่ไก่ชน : ก่อนการแข่งขันจะมีการเปรียบไก่ ซึ่งเป็นการจับคู่ไก่ที่มีน้ำหนักและความสามารถใกล้เคียงกัน เพื่อให้การแข่งขันมีความยุติธรรม

การจำแนกสายพันธุ์ไก่ชนในประเทศไทย ในประเทศไทย มีสายพันธุ์ไก่ชนที่ได้รับความนิยมเลี้ยงอยู่หลายสายพันธุ์ ดังนี้

ไก่ชนพันธุ์พื้นเมืองผสม เป็นสายพันธุ์ไก่ชนที่เกิดจากการผสมระหว่างไก่ชนพันธุ์พื้นเมืองกับไก่ชนพันธุ์ต่างประเทศ มีลักษณะรูปร่างและนิสัยที่ผสมผสานระหว่างไก่ชนทั้งสองสายพันธุ์ ไก่ชนพันธุ์พื้นเมืองผสมที่ได้รับความนิยมเลี้ยง ได้แก่ ไก่เหลืองหางขาวผสมโรดไอแลนด์เรด ไก่เก้าชั่งผสมพลีมัธร็อค ไก่เบตงผสมบาร์เลห์ และไก่คอล่อนผสมอาแปะ เป็นต้น

๑๔. เวลาพานน้ำหรือให้น้ำจะร้องจ๊อก ๆ

การกระทำอะไร ๆ ของคนไทยมักจะมีความเชื่อต่าง ๆ เป็นเครื่องช่วยให้เกิดความมั่นใจในกิจการนั้น ๆ การเล่นชนไก่ก็เช่นกัน ได้มีความเชื่อหลายสิ่งหลายอย่างเกี่ยวกับกีฬาพื้นบ้านประเภทนี้ดังกล่าวแล้ว

๒. ไก่ทาง เป็นไก่ที่ไม่ชอบเข้าแลกตีกันซึ่ง ๆ หน้า แต่จะใช้ชั้นเชิงลวดลายของมันเอาเปรียบคู่ต่อสู้ โดยวิธีการใช้หัว ตัว คอ เข้าซุกซ่อนตามใต้ตัว ท้อง หรือใต้ปีกของคู่ต่อสู้ แล้วค่อยขึ้นมาแอบตีทางด้านข้างหลัง ข้างตัว หรือตีมาแต่ข้างล่างก็มี การซุกซ่อนหรือมุดเข้าใต้ตัวคู่ต่อสู้เช่นนี้ ภาษานักเลงไก่ชนภาคใต้เรียกว่า “ลง” การที่ลงไปซุกซ่อนใต้ตัวแล้วลอดหรือมุดเข้าใต้ท้องคู่ต่อสู้ออกไปทางด้านหลังหรือทางหาง เพื่อตลบขึ้นตีคู่ต่อสู้ทางด้านหลัง เรียกวิธีการเช่นนี้ว่า “ลงผ่าหาง” และถ้าลอดเข้าไปใต้ปีกคู่ต่อสู้แล้วโผล่หัวออกมาทางกลางหลังของคู่ต่อสู้พร้อมกับหมุนตัวเข้าไปเทียบ จิกหัว จิกคอ คู่ต่อสู้หรือกดลงแล้วตี เรียกวิธีการเช่นนี้ของมันว่า “มัด” บางตัวอาจจิกหน้าอก จิกด้านข้างตัวแล้วตีขึ้นมาจากข้างล่างก็มี เช่นนี้เรียกว่า “รื้อล่าง”

๒.๓ หงอนแจ้กำแพงเศียร คือหงอนแจ้ธรรมดานั่นเอง แต่เป็นไก่หงอนแจ้ที่ไม่มีแร้งหรือเหนียงมาแต่กำเนิด เป็นไก่หงอนแจ้ที่มีลักษณะดีชนิดหนึ่ง (ชาติ ไชยณรงค์. ๒๕๓๓, หน้า ๓๖.)

แข้งของไก่ทุกตัวจะมีเกล็ดห่อหุ้มอยู่รอบข้างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง แต่มีชื่อเรียกแตกต่างไปดังนี้ เกล็ดที่อยู่หน้าแข้งเรียกว่า “เกล็ดหน้า” หรือ “เกล็ดแข้ง” เกล็ดที่นิ้วเรียก เกล็ดนิ้ว ส่วนด้านข้างและด้านหลังแข้ง เช่นเกล็ดที่อยู่ข้างแข้งด้านนอก เกล็ดที่อยู่ด้านข้างและด้านหลังแข้งไม่ได้เรียกว่าเกล็ด แต่จะเรียกชื่อเฉพาะลงไปเลย เช่น เกล็ดกลมเล็ก ๆ สีแดงเรียงรายขึ้นไปจากเท้าจนถึงเข่าหรือข้อขาว่า “ลำเพ็ง” ถัดจากลำเพ็งมาทางด้านหลังเป็นเกล็ดขนาดใหญ่จากเท้าเรียงขึ้นไปถึงเข่าเรียกว่า “หน้าดาน” (หน้ากระดาน) จากหน้าดานเป็นเกล็ดกลมเล็ก ๆ มีสีเดียวกับเกล็ดอื่นเรียงขึ้นไปถึงเข่าเรียกว่า “เบี้ยร้อย” จากเบี้ยร้อยถัดมาเป็นเกล็ดกลมเล็กเช่นกันแต่เม็ดโตกว่าลำเพ็งหรือเบี้ยร้อย เรียงขึ้นไปจากเดือยโดยมีเม็ดใหญ่อยู่บนเดือยแล้วเรียงขึ้นไปเป็นเม็ดเล็กตามลำดับเรียกว่า “เบี้ยนำเดือย” จากเบี้ยนำเดือยบางตัวอาจจะมี เบี้ยร้อยขนาบอยู่อีกแถวหนึ่ง

เมื่อเริ่มชนกันจะมีกรรมการคอยดูแลอยู่ และคอยแยกอยู่ในสังเวียนอย่างน้อย ๑ คน ตลอดเวลา เมื่อหมดอันหรือหมดยก กรรมการจะเข้าแยกไก่ทั้งสองออกจากกัน พี่เลี้ยงไก่หรือมือน้ำจะรีบนำไก่เข้าห้องน้ำเพื่อให้น้ำซึ่งเตรียมไว้ในบ่อน การให้น้ำไก่และการปฐมพยาบาลไก่

๓๔. เกล็ดบาง ไม่ดีเพราะไม่มีลำหักลำโค่น ส่วนมากไก่ที่ดีต้องมีเกล็ดแน่นหนาไก่ชน ไทย

Report this page